27Jul/23

ขอแสดงความยินดีกับ

1. อาจารย์จุฬณี สังเกตชนสังกัดภาควิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์และสาธารณภัยให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช2. อาจารย์ธีตา ศรีคชสังกัดภาควิชาเทคโนโลยีสุขภาพให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งที่ 7/2566 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2566

24Jul/23

ภาพกิจกรรมสานสัมพันธ์น้องใหม่สู่อ้อมกอด วทส. 24 – 26 ก.ค. 2566

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ กำหนดจัดโครงการพัฒนา สานสัมพันธ์ศิษย์และอาจารย์“กิจกรรมสานสัมพันธ์น้องใหม่สู่อ้อมกอด วทส. ปีการศึกษา 2566” เพื่อให้นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖6 ได้เตรียมความพร้อมเข้ารับการศึกษา และเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย

21Jul/23

กิจกรรมการทำสื่อภัยพิบัติและสาธารณภัยในโรงเรียนคลองพิทยาลงกรณ์ 21 ก.ค. 2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณภัย ตระหนักถึงความสำคัญในการเพิ่มศักยภาพของนักเรียนในสถานศึกษา จึงได้จัดให้มีการออกแบบและจัดทำสื่อภัยพิบัติซึ่งเป็นศาสตร์ส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการสาธารณภัยในโรงเรียนประถมและมัธยมในประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นการนำองค์ความรู้ทั้งด้านจิตวิทยาสาธารณภัย ด้านศิลปะการสื่อสารของมนุษย์ ด้านการออกแบบการวาดรูปเพื่อถ่ายทอดเหตุและผลของภัยพิบัติและการเอาตัวรอดจากภัยรอบตัว นำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์สมมติต่าง ๆ โดยเกิดจากการเรียนรู้ผ่านสื่อภัยพิบัติในรูป Soft solution ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติ ในรูปแบบ Hard Solution ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการเรียนรู้เเนวทางปฏิบัติทางสังคมเเละวัฒนธรรมต่อการตอบสนองภัยพิบัติเเต่ละพื้นที่ของเขตเมือง ซึ่งเป็นการเห็นปัญหาเเละความเเตกต่างที่เกิดขึ้น จะทำให้นักศึกษาสาขาการจัดการสาธารณภัยสามารถเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ผ่านชุมชน โรงเรียนเเละนำไปบริหารจัดการเเผนเตรียมการป้องกันภัยพิบัติให้กับโรงเรียนอื่น ๆ ของทั้งกลุ่มเขตเมืองหลักเเละเมืองรอง ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศในโครงการต่อไป โดยโครงการนี้เป็นโครงการต่อยอดจากโครงการประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับสถาบันในประเทศและต่างประเทศ ผ่านกิจกรรม Empowering Youth LeadershipRead More…

20Jul/23

(กิจกรรมการจัดทำสื่อภัยพิบัติและสาธารณภัยในโรงเรียน) โรงเรียนวัดบางปะกอก 20 ก.ค.2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณภัย ตระหนักถึงความสำคัญในการเพิ่มศักยภาพของนักเรียนในสถานศึกษา จึงได้จัดให้มีการออกแบบและจัดทำสื่อภัยพิบัติซึ่งเป็นศาสตร์ส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการสาธารณภัยในโรงเรียนประถมและมัธยมในประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นการนำองค์ความรู้ทั้งด้านจิตวิทยาสาธารณภัย ด้านศิลปะการสื่อสารของมนุษย์ ด้านการออกแบบการวาดรูปเพื่อถ่ายทอดเหตุและผลของภัยพิบัติและการเอาตัวรอดจากภัยรอบตัว นำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์สมมติต่าง ๆ โดยเกิดจากการเรียนรู้ผ่านสื่อภัยพิบัติในรูป Soft solution ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติ ในรูปแบบ Hard Solution ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการเรียนรู้เเนวทางปฏิบัติทางสังคมเเละวัฒนธรรมต่อการตอบสนองภัยพิบัติเเต่ละพื้นที่ของเขตเมือง ซึ่งเป็นการเห็นปัญหาเเละความเเตกต่างที่เกิดขึ้น จะทำให้นักศึกษาสาขาการจัดการสาธารณภัยสามารถเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ผ่านชุมชน โรงเรียนเเละนำไปบริหารจัดการเเผนเตรียมการป้องกันภัยพิบัติให้กับโรงเรียนอื่น ๆ ของทั้งกลุ่มเขตเมืองหลักเเละเมืองรอง ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศในโครงการต่อไป โดยโครงการนี้เป็นโครงการต่อยอดจากโครงการประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับสถาบันในประเทศและต่างประเทศ ผ่านกิจกรรม Empowering Youth LeadershipRead More…

19Jul/23

กิจกรรมพัฒนารายวิชาภาคการศึกษาทั่วไปตามแนวทางประกันคุณภาพฯ 19 ก.ค. 66

การประชุมเพื่อพัฒนารายวิชาของภาควิชาการศึกษาทั่วไปตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาพ.ศ.๒๕๕๗ เพื่อกำกับและติดตามการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในปีการศึกษาถัดไปให้ได้คุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนด

18Jul/23

(กิจกรรมการจัดทำสื่อภัยพิบัติและสาธารณภัยในโรงเรียน) โรงเรียนด่านมะขามเตี้ยวิทยาคม 18 ก.ค.2566

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณภัย ตระหนักถึงความสำคัญในการเพิ่มศักยภาพของนักเรียนในสถานศึกษา จึงได้จัดให้มีการออกแบบและจัดทำสื่อภัยพิบัติซึ่งเป็นศาสตร์ส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการสาธารณภัยในโรงเรียนประถมและมัธยมในประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นการนำองค์ความรู้ทั้งด้านจิตวิทยาสาธารณภัย ด้านศิลปะการสื่อสารของมนุษย์ ด้านการออกแบบการวาดรูปเพื่อถ่ายทอดเหตุและผลของภัยพิบัติและการเอาตัวรอดจากภัยรอบตัว นำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์สมมติต่าง ๆ โดยเกิดจากการเรียนรู้ผ่านสื่อภัยพิบัติในรูป Soft solution ได้อย่างมีเหตุผลและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติ ในรูปแบบ Hard Solution ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการเรียนรู้เเนวทางปฏิบัติทางสังคมเเละวัฒนธรรมต่อการตอบสนองภัยพิบัติเเต่ละพื้นที่ของเขตเมือง ซึ่งเป็นการเห็นปัญหาเเละความเเตกต่างที่เกิดขึ้น จะทำให้นักศึกษาสาขาการจัดการสาธารณภัยสามารถเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ผ่านชุมชน โรงเรียนเเละนำไปบริหารจัดการเเผนเตรียมการป้องกันภัยพิบัติให้กับโรงเรียนอื่น ๆ ของทั้งกลุ่มเขตเมืองหลักเเละเมืองรอง ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศในโครงการต่อไป โดยโครงการนี้เป็นโครงการต่อยอดจากโครงการประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับสถาบันในประเทศและต่างประเทศ ผ่านกิจกรรม Empowering Youth LeadershipRead More…